บทที่ 7 ระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการตัดสินใจด้านการบริหาร





Image result for ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
https://www.google.com/search?q=%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3&sxsrf=ACYBGNQh7D_2saHIICumxJFpPyoBer4_Fw:1570163181364&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwiCo6jV4YHlAhWBsI8KHX1ECnwQ_AUIEigB&biw=1366&bih=657#imgrc=-eJI7ZU6jBipLM:

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 
   
ระบบสารสนเทศสเพื่อการจัดการ เป็นประเภทพื้นฐานของระบบที่สนับสนุนการจัดการและยังเป็นหลักของระบบสารสนเทศอีกด้วย เป็นตัวสร้างข้อมูลที่สนับสนุนความต้องการในการตัดสินใจสำหรับงานการจัดการวันต่อวัน การสร้างรายงาน การแสดงและการตอบสนองโดยการเตรียมระบบข้อมูลสารสนเทศซึ่งผู้จัดการจะมีการกำหนดไว้ล่วงหน้า เช่น การผลิตข้อมูลที่เหมาะสะมสำหรับผู้ที่ต้องตัดสินใจในระดับของการปฏิบัติงานและยุทธวิธีขององค์กร ซึ่งเป็นผุ้ที่ต้องเผชิญหน้ากับประเภทของโครงสร้างในเหตุการณ์สำหรับการตัดสินใจอยู่เป็นประจำ

ทางเลือกสำหรับการจัดการรายงาน
   
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ได้ผลิตข้อมูลที่หลากหลายสำหรับการจัดการ ทางเลือกของรายงาน 4 ประเภทที่มีการเตรียมจากโปรแกรม

   -
รายงานตามตารางเวลาปกติ
   -
รายงานการยกเว้น
   -
รายงานความต้องการและการตอบสนอง
   -
รายงานสนับสนุน

การประมวลผลการวิเคราะห์ต่อตรงหรือออนไลน์
   
การแข่งขันและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในสิ่งแวดล้อมของโลกธุรกิจ คือ แรงผลักของความต้องการและการวิเคราะห์สำหรับระบบสารสนเทศที่มีความต้องการที่ซับซือน ซึ่งอุสาหกรรมระบบสารสนเทศนั้นมีการตอบสนองในความต้องการเหล่านี้ โดยการพัฒนา เช่น การวิเคราะห์ฐานข้อมูล ตลาดข้อมูลหรือข้อมูลทางการตลาด โกดังข้อมูลหรือคลังข้อมูล เทคนิคการทำเหมือนข้อมูลหรือขุมข้อมูล และโครงสร้างฐานข้อมูลทางด้านมัลติมิเดีย ที่เกี่ยวกับแม่ข่ายและซอฟต์แวร์เฉพาะที่สนับสนุนการประมวลผลการตัดสินใจและระบบสารสนเทศเพื่อผู็บริหารที่ผู้จัดการสามารถใช้งานและวิเคราะห์สื่อสารระหว่างกันและการจัดการรายละเอียด ซึ่งจะมีการตอบสนองความต้องการได้อย่างรวดเร็ว

การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
   
การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เกี่ยวข้องกับการติดต่อในขั้นตอนการทำงานของรูปแบบจำลองในการวิเคราะห์ เช่น การใช้ชุดซอฟต์แวร์ DSS สำหรับสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะมีผลในลำดับของการแสดงที่มีการตอบสนองจากทางเลือกวอทอีฟ ที่มีการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแผได้โดยผู้จัดการ

   
การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐาน 4 อย่างของแบบจำลองในการวิเคราะห์ ดูบทสรุปของแบบจำลองการวิเคราะห์สำหรับการสนับสนุนในการตัดสินใจ

การวิเคราะห์แบบวอทอิฟ
   
ในการวิเคราะห์แบบวอทอิฟ ผู้ใช้สามารถจะเปลี่ยนแปลงตัวแปรปหรือจำนวนความสัมพันธ์ของตัวแปรและความชัดเจนของผลลัพธ์ที่ได้จากค่าตัวแปรอื่นๆ เช่น ถ้าคุณใช้ตารางทำการ คุณจะต้องเปลี่ยนจำนวนของรายได้ (ตัวแปร) หรือสูตรคิดอันตราภาษี (จำนวนความสัมพัธ์ของตัวแปร) ในแบบจำลองด้านการเงินในตารางทำการ หลังจากนั้นคุณอาจสั่งให้โปรแกรมทำการคำนวนใหม่อีกครั้ง เพื่อแระเมินค่าบางตัวที่เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการกำหนดตัวแปร เช่น กำไรสุทธิหลังหักภาษี

การวิเคราะห์แบบละเอียด
   
การวิเคราะห์แบบละเอียดเป็นกรณีพิเศษของการวิเคราะห์แบวอทอิฟ ค่าของตัวแปรเพียงหนั่งตัวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงและเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ในตัวแปรอื่นๆ ดังนั้นการวิเคราะห์แบบละเอียดจะเป็นกรณีของการวิเคราะห์แบบวอทอิฟ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงซ้ำอีกครั้งในตัวแปรเพียงตัวเดียวในแต่ละครั้ง ชุดโปรแกรม DSS บางตัวจะมีการเปลี่ยนแปลงตัวแปรโดยอัตโนมัติ การวิเคราะห์แบบละเอียดจะใช้เมื่อผู้ตัดสินใจไม่แน่ใจเกี่ยวกับการประเมินค่าของตัวแปรหลัก

การวิเคราะห์แบบค้นหาเป้าหมาย
   
การวิเคราะห์แบบค้นหาเป้าหมาย เป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับการวิเคราะห์แบบวอทอิฟ และแบบรายละเอียดจะเป็นการแทนที่ของสิ่งที่เห็นได้ชัดว่ามีการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรที่มีผลกับตัวแปรอื่นอย่างไร การวิเคราะห์ในการค้นหาเป้าหมายเรียกว่า สามารถวิเคราะห์ได้อย่างไร  ได้กำหนดค่าของเป้าหมาย (ความสำเร็จ)  สำหรับตัวแปร หลังจากนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรอื่นๆจนกระทั่งค่าของเป้าหมายนั้นเข้าถึงเป้าหมาย

การวิเคราะห์แบบเหมาะสม
   
การวิเคราะห์แบบเหมาะสม เป็นการขยายความซับซ้อนที่มากขึ้นสำหรับการวิเคราะห์ค้นหาเป้าหมาย โดยแทนที่ค่าของเป้าหมายเฉพาะสำหรับตัวแปร เพื่อค้นหาค่าที่เหมาะสมสำหรับตัวแปรหนึ่งตัวแปรหรือมากกว่านั้น หลังจากนั้นตัวแปรอื่นจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้มีข้อจำกัดเกิดขึ้น จนกว่าจะได้ค่าที่ดีที่สุดสำหรับตัวแปรเป้าหมายที่ต้องการ เช่น ควรกำหนดค่าระดับของผลกำไรไว้ในระดับสูงที่ควรจะเป็นเป้าหมายแห่งความสำเน็จ โดยวางค่าสำหรับการเลือกแหล่งของรายได้และประเภทของค่าใช้จ่าย การเปลี่ยนแปลงในตัวแปรอย่างมากอาจจะทำให้มีขีดจำกัดสำหรับขั้นตอนการผลิตหรือขีดจำกัดของการเงิน ดังนั้น เงื่อนไขที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งสำคัญ

ขอบเขตของปัญญาประดิษฐ์
   1.
ศาตร์แห่งการรับรู้
   2.
หุ่นยนต์
   3.
ลักษณะการทำงานที่เป็นธรรมชาติ



ระบบสนับสนุนผู้บริหาร (ESS)
              ระบบสนับสนุนผู้บริหาร (Executive Support System : ESS) ประกอบด้วยซอร์ฟแวร์ที่ซับซ้อนซึ่งสามารถนำเสนอ สรุป และวิเคราะข้อมูลจากฐานข้อมูลขององค์กร ทั้งยังมีจุดเด่นที่ใช้งานง่าย ทำให้ผู้ใช้ประหยัดเวลา สามารถเรียกดูสารสนเทศที่จำเป็นได้โดยไม่ต้องผ่านการฝึกอบรมมาก่อน ด้วยเหตุนี้จึงมักนำเสนอสารสนเทศด้วยรูปภาพหรือกราฟฟิก



Image result for หัวหน้างานกับลูกน้อง

            

       ระบบสนับสนุนผู้บริหารช่วยให้ผู้บริหารเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธภาพการดำเนินงานขององค์กรได้โดยตรง และมักมีระบบสื่อสารที่เอื้อให้ผู้บริการติดต่อกันได้สะดวก บางระบบมีความสามารถรับข้อมูลจากฐานข้อมูลภายนอก เช่นบริการข่าวธุรกิจ ทำให้สามารถรับรู้ความเป็นไปของคู่แข่ง และข่าวสารที่ทันต่อเหตุกาณ์


แหล่งที่มา : http://kannipa1159.blogspot.com/2018/10/7.html
     

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

แบบฝึกหัดบทที่ 1

บทที่ 5 อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต และความร่วมมือระหว่างองค์กร

บทที่ 8 ระบบสารสนเทศสำหรับความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์